Skip to content

อยากมีลูกคนที่ 3 ปล่อยมานานมากๆจนเข้าสู่ภาวะมีลูกยาก ตั้งครรภ์สำเร็จด้วยวิธี ICSI รักษาโดยหมอกิตติ


01 เมษายน 2025
เคสสำเร็จ

คุณแม่พัสตราภรณ์วางแผนครอบครัวมีลูก 3 คน แต่พอปล่อยคนที่ 3 วี่แววเงียบหายไปจนคิดว่ามีอะไรผิดปกติแน่นอน เข้าปรึกษาคุณหมอกิตติ ที่ Beyond IVF พบว่า ไข่ตั้งต้นเริ่มเหลือน้อย ประจำเดือนมาไม่ปกติ ขอรักษาเป็นวิธีที่ได้ผลมากที่สุด ICSI เด็กหลอดแก้ว

หลายๆท่านที่เคยมีบุตรแล้วก็จะเข้าใจว่าตัวเองมีบุตรง่าย จะไม่เข้าภาวะมีบุตรยากอย่างแน่นอน แต่ความจริงเมื่อร่างกายคุณผู้หญิงเติบโตขึ้นย่อมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ โดยเฉพาะเซลล์ไข่ที่มีมาตั้งแต่กำเนิดและหมดลงอย่างรวมเร็วตามสภาพอายุและกรรมพันธุ์ หากใครปล่อยธะรมชาติมากกว่า 1 ปีแล้วยังไม่ตั้งครรภ์ควรเข้าปรึกษาแพทย์เพื่อตรวจหาปัญหาต่อไป

การรักษาของคุณแม่พัสตราภรณ์ออกแบบโดยเทคนิคอาจารย์กิตติ ตั้งแต่วินิจฉัยผ่านผลฮอร์โมน เลือกตัวยา โดสยาและวางแผลการฉีดได้เหมาะสม จนผสมและได้ตัวอ่อนระยะบลาสโตซิส Blastocyst มากถึง 8 ตัว คุณแม่ดีใจเกินความคาดหวังอย่างมาก

เตรียมโพรงมดลูกและตรวจอย่างใกล้ชิดจนถึงวันที่มดลูกพร้อมรับตัวอ่อน ย้ายตัวอ่อนที่ตรวจโครโมโซมผ่าน 1 ตัว ตั้งครรภ์สำเร็จ!!! เป็นการประสบความสำเร็จอีกครั้งของคุณหมอกิตติที่ Beyond IVF ค่ะ

คนไข้รักษาแบบด้วยวิธี ICSI เด็กหลอดแก้ว

เทคนิคพิเศษเพิ่มเติม

  • ICSI ( เทคนิคใช้กล้องชนิดพิเศษนำอสุจิเจาะเข้าเซลล์ไข่เพิ่มอัตราสำเร็จ)
  • NGS (ตรวจความผิดปกติของโครโมโซมตัวอ่อน)

เรื่องราวความสำเร็จอื่น ๆ

เคสสำเร็จ

อายุไม่มากแต่เจอปัญหาฮอร์โมนเสื่อม ตั้งครรภ์ด้วยวิธี ICSI รักษาโดยคุณหมอกิตติ

Read the story
เคสสำเร็จ

รีวิวฝากไข่ ไม่น่ากลัวอย่างที่คิด รีวิวเก็บไข่อย่างละเอียดทุกขั้นตอน

Read the story
เคสสำเร็จ

มีลูกยาก อยากมีลูก มาทำ ICSI กับคุณหมอต้นครั้งเดียวติดเลย ที่ Beyond IVF

Read the story
เคสสำเร็จ

ปล่อยมานานหลายปีไม่มีลูกสักที ทำ IUI ครั้งเดียวตั้งครรภ์เลย ที่ Beyond IVF

Read the story

นาฬิกาสุขภาพ

เครื่องมือนี้ระบุ :

  • โอกาสตั้งครรภ์ตามธรรมชาติในแต่ละเดือน หากไม่มีปัญหาภาวะมีบุตรยาก
  • อัตราความสำเร็จของการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) ในช่วงอายุเดียวกัน
  • ควรปรึกษาแพทย์เมื่อพยายามตั้งครรภ์ไม่สำเร็จเป็นระยะเวลากี่เดือน

หากคุณกังวลไม่ว่าขั้นตอนใดก็ตาม เราขอแนะนำให้ลงนัดแพทย์หรือขอคำปรึกษาจากพยาบาลฟรี ยิ่งคุณวางแผนได้เร็วเท่าไรโอกาสของคุณก็จะยิ่งมากขึ้นเท่านั้น

เมื่อไหร่ที่ควรขอคำแนะนำ

  • หากคุณมีภาวะถุงน้ำรังไข่หลายใบ (PCOS), เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ (Endometriosis) หรือเคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็ง เราขอแนะนำให้คุณติดต่อเราทันที เพื่อที่เราจะได้อธิบายทางเลือกทั้งหมดและช่วยเพิ่มโอกาสประสบความสำเร็จให้มากที่สุด
  • หากคุณเป็นผู้หญิงที่มีสถานะโสดและกำลังพิจารณาว่าอยากมีลูกในอนาคต ควรเข้ามาปรึกษาเราแต่เนิ่น ๆ และพิจารณาการฝากไข่ (Egg Freezing) ซึ่งเป็นทางเลือกที่ดีในช่วงที่คุณยังมีไข่จำนวนมาก และสุขภาพของไข่อยู่ในเกณฑ์ที่ดี
กำหนดอายุของคุณและระยะเวลาที่คุณพยายามตั้งครรภ์ (เป็นเดือน)
26
2
โอกาสในการมีบุตรต่อเดือนสำหรับคู่รักที่มีภาวะเจริญพันธุ์ปกติ
โอกาสในการมีบุตรต่อรอบการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) หากมีภาวะมีบุตรยาก

เครื่องคำนวณดัชนีมวลกาย (BMI)

การมีน้ำหนักเกินหรือต่ำกว่าเกณฑ์อาจจะลดความสามารถในการมีบุตรได้ ดังนั้น การรักษาน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติจึงเป็นสิ่งสำคัญ

ดัชนีมวลกาย (BMI) เป็นตัวบ่งชี้น้ำหนักตัวของคุณและสามารถคำนวณได้โดยการหารน้ำหนักด้วยส่วนสูง คุณควรตั้งเป้าหมายไว้ที่ค่าดัชนีมวลกายระหว่าง 20 ถึง 25 เนื่องจากจะช่วยเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์

ค่าดัชนีมวลกายของผู้หญิงต่ำกว่า 19

แม้ในยุคปัจจุบัน ธรรมชาติของร่างกายก็ยังรู้ดีที่สุด หากดัชนีมวลกาย (BMI) ของผู้หญิงต่ำกว่า 19 ร่างกายจะรับรู้ถึงภาวะขาดแคลนอาหารและจะหยุดการตกไข่เพื่อป้องกันความเสี่ยงในการตั้งครรภ์ที่อาจทำให้ทารกขาดสารอาหาร การออกกำลังกายมากเกินไปสามารถลดไขมันในร่างกายและเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ แต่ถ้าหักโหมมากเกินไปอาจทำให้ประจำเดือนหยุดลงด้วยเหตุผลเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงในการแท้งที่สูงขึ้นในผู้หญิงที่มี BMI ต่ำอีกด้วย

น้ำหนักน้อยเกินไป

หากดัชนีมวลกาย (BMI) ของผู้หญิงต่ำกว่า 19 ร่างกายจะรับรู้ถึงภาวะขาดแคลนอาหารและจะหยุดการตกไข่เพื่อป้องกันความเสี่ยงในการตั้งครรภ์ที่อาจทำให้ทารกขาดสารอาหาร การออกกำลังกายมากเกินไปสามารถลดไขมันในร่างกายและเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ แต่ถ้าหักโหมมากเกินไปอาจทำให้ประจำเดือนหยุดลงด้วยเหตุผลเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงในการแท้งที่สูงขึ้นในผู้หญิงที่มี BMI ต่ำอีกด้วย

ค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 30

สิ่งนี้สามารถลดความสามารถในการมีบุตรได้ถึง 50% การตั้งครรภ์ในผู้หญิงที่มี BMI สูงกว่า 30 มักจะเกี่ยวข้องกับปัญหาต่างๆ เช่น เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูง ทารกตัวใหญ่ และความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นในการผ่าคลอด

เพิ่มส่วนสูงและน้ำหนักของคุณเพื่อคำนวณดัชนีมวลกายของคุณ