Skip to content

คุณแม่วัย 40 ปีก็ท้องแฝดได้ รักษาด้วยวิธีการทำ ICSI กับคุณหมอต้น ที่ Beyond IVF


13 มีนาคม 2025
เคสสำเร็จ

คุณแม่วัย 40 ปีก็ท้องแฝดได้ รักษาด้วยวิธีการทำ ICSI กับคุณหมอต้น ที่ Beyond IVF

คุณแม่จารุมาศในวัย 40 ปี รักษาด้วยวิธีการทำ ICSI กับคุณหมอต้นที่ Beyond IVF เพื่อช่วยเพิ่มโอกาสในการมีเจ้าตัวน้อย ตอนนี้ได้น้องแฝดเบบี๋ เนเน่ เณญ่าร์ ไปเติมเต็มครอบครัวได้สำเร็จ

หลังจากที่คนไข้พยายามมีบุตรด้วยวิธีธรรมชาติแล้วมานานไม่สำเร็จและยังรู้สึกกังวลเกี่ยวกับเรื่องอายุที่เพิ่มมากขึ้นกลัวว่าโอกาสในการมีน้องยิ่งน้อยลเพราะอายุเข้าเลข 4 แล้ว จึงตัดสินใจนัดเข้ามาปรึกษาคุณหมอต้นที่ Beyond IVF คุณหมอต้นให้คำปรึกษาที่ชัดเจนและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาด้วยวิธีการทำ ICSI ซึ่งเป็นวิธีที่เหมาะสมกับคนไข้ คุณหมออธิบายถึงขั้นตอน ความเป็นไปได้ของการรักษาอย่างละเอียดคนไข้ตัดสินใจเริ่มต้นกระบวนการเลยทันที

ประจำเดือนรอบถัดไปมาคนไข้เริ่มฉีดยากระตุ้นไข่ใช้ระยะเวลาประมาณ 10 วัน คุณหมอต้นนัดให้เข้ามาอัลตร้าซาวด์ดูจำนวนของไข่จนได้ประมาณที่เหมาะสมคุณหมอทำการนัดเข้ามาเก็บไข่ พอถึงขั้นตอนการเลียงตัวอ่อนและคนไข้ได้ตัวอ่อนที่เลี้ยงได้ถึงระยะ Blastocyst

คุณหมอต้นแนะนำให้คนไข้ตรวจ NGS คัดกรองโครโมโซมตัวอ่อนร่วมด้วยเพราะคนไข้อายุมากแล้ว มีโอกาสที่ตัวอ่อนจะผิดปกติและมีโรคต่างๆได้ รวมทั้งเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์ให้สำเร็จมากยิ่งขึ้น เมื่อผลการตรวจโครโมโซมออกมาแล้วได้ตัวอ่อนทองคำถึง 2 ตัวคนไข้แอบหวังจะได้น้องแฝดอยู่แล้วจึงปรึกษาคุณหมอว่ามีความเป็นไปได้ไหมจากผลการประเมินคุณหมอเห็นว่าพอเป็นไปได้จึงทำการย้ายตัวอ่อนให้กับคุณแม่พร้อมกัน 2 ตัวตามความต้องหากตัวอ่อนทั้ง 2 ได้ฝังตัวที่ผนังมดลูกได้ดีก็สามารถเป็นท้องแฝดได้

หลังใส่ตัวอ่อนได้ 14 วันลองตรวจผลการตั้งครรภ์ดูสรุปขึ้น 2 ขีดเลยรีบทำนัดเข้ามาพบคุณหมอเพื่อตรวจค่าฮอร์โมน HCG อีกครั้งเพื่อความมั่นใจสรุปค่าฮอร์โมนพุ้งขึ้นสูงมากมีโอกาสตั้งครรภ์สำเร็จแน่นอนจากนั้น 3 วันคุณหมอต้นนัดเ

เทคนิคพิเศษเพิ่มเติม

  • ICSI ( เทคนิคใช้กล้องชนิดพิเศษนำอสุจิเจาะเข้าเซลล์ไข่เพิ่มอัตราสำเร็จ)

เรื่องราวความสำเร็จอื่น ๆ

เคสสำเร็จ

อายุไม่มากแต่เจอปัญหาฮอร์โมนเสื่อม ตั้งครรภ์ด้วยวิธี ICSI รักษาโดยคุณหมอกิตติ

Read the story
เคสสำเร็จ

อยากมีลูกคนที่ 3 ปล่อยมานานมากๆจนเข้าสู่ภาวะมีลูกยาก ตั้งครรภ์สำเร็จด้วยวิธี ICSI รักษาโดยหมอกิตติ

Read the story
เคสสำเร็จ

รีวิวฝากไข่ ไม่น่ากลัวอย่างที่คิด รีวิวเก็บไข่อย่างละเอียดทุกขั้นตอน

Read the story
เคสสำเร็จ

มีลูกยาก อยากมีลูก มาทำ ICSI กับคุณหมอต้นครั้งเดียวติดเลย ที่ Beyond IVF

Read the story

นาฬิกาสุขภาพ

เครื่องมือนี้ระบุ :

  • โอกาสตั้งครรภ์ตามธรรมชาติในแต่ละเดือน หากไม่มีปัญหาภาวะมีบุตรยาก
  • อัตราความสำเร็จของการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) ในช่วงอายุเดียวกัน
  • ควรปรึกษาแพทย์เมื่อพยายามตั้งครรภ์ไม่สำเร็จเป็นระยะเวลากี่เดือน

หากคุณกังวลไม่ว่าขั้นตอนใดก็ตาม เราขอแนะนำให้ลงนัดแพทย์หรือขอคำปรึกษาจากพยาบาลฟรี ยิ่งคุณวางแผนได้เร็วเท่าไรโอกาสของคุณก็จะยิ่งมากขึ้นเท่านั้น

เมื่อไหร่ที่ควรขอคำแนะนำ

  • หากคุณมีภาวะถุงน้ำรังไข่หลายใบ (PCOS), เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ (Endometriosis) หรือเคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็ง เราขอแนะนำให้คุณติดต่อเราทันที เพื่อที่เราจะได้อธิบายทางเลือกทั้งหมดและช่วยเพิ่มโอกาสประสบความสำเร็จให้มากที่สุด
  • หากคุณเป็นผู้หญิงที่มีสถานะโสดและกำลังพิจารณาว่าอยากมีลูกในอนาคต ควรเข้ามาปรึกษาเราแต่เนิ่น ๆ และพิจารณาการฝากไข่ (Egg Freezing) ซึ่งเป็นทางเลือกที่ดีในช่วงที่คุณยังมีไข่จำนวนมาก และสุขภาพของไข่อยู่ในเกณฑ์ที่ดี
กำหนดอายุของคุณและระยะเวลาที่คุณพยายามตั้งครรภ์ (เป็นเดือน)
26
2
โอกาสในการมีบุตรต่อเดือนสำหรับคู่รักที่มีภาวะเจริญพันธุ์ปกติ
โอกาสในการมีบุตรต่อรอบการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) หากมีภาวะมีบุตรยาก

เครื่องคำนวณดัชนีมวลกาย (BMI)

การมีน้ำหนักเกินหรือต่ำกว่าเกณฑ์อาจจะลดความสามารถในการมีบุตรได้ ดังนั้น การรักษาน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติจึงเป็นสิ่งสำคัญ

ดัชนีมวลกาย (BMI) เป็นตัวบ่งชี้น้ำหนักตัวของคุณและสามารถคำนวณได้โดยการหารน้ำหนักด้วยส่วนสูง คุณควรตั้งเป้าหมายไว้ที่ค่าดัชนีมวลกายระหว่าง 20 ถึง 25 เนื่องจากจะช่วยเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์

ค่าดัชนีมวลกายของผู้หญิงต่ำกว่า 19

แม้ในยุคปัจจุบัน ธรรมชาติของร่างกายก็ยังรู้ดีที่สุด หากดัชนีมวลกาย (BMI) ของผู้หญิงต่ำกว่า 19 ร่างกายจะรับรู้ถึงภาวะขาดแคลนอาหารและจะหยุดการตกไข่เพื่อป้องกันความเสี่ยงในการตั้งครรภ์ที่อาจทำให้ทารกขาดสารอาหาร การออกกำลังกายมากเกินไปสามารถลดไขมันในร่างกายและเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ แต่ถ้าหักโหมมากเกินไปอาจทำให้ประจำเดือนหยุดลงด้วยเหตุผลเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงในการแท้งที่สูงขึ้นในผู้หญิงที่มี BMI ต่ำอีกด้วย

น้ำหนักน้อยเกินไป

หากดัชนีมวลกาย (BMI) ของผู้หญิงต่ำกว่า 19 ร่างกายจะรับรู้ถึงภาวะขาดแคลนอาหารและจะหยุดการตกไข่เพื่อป้องกันความเสี่ยงในการตั้งครรภ์ที่อาจทำให้ทารกขาดสารอาหาร การออกกำลังกายมากเกินไปสามารถลดไขมันในร่างกายและเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ แต่ถ้าหักโหมมากเกินไปอาจทำให้ประจำเดือนหยุดลงด้วยเหตุผลเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงในการแท้งที่สูงขึ้นในผู้หญิงที่มี BMI ต่ำอีกด้วย

ค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 30

สิ่งนี้สามารถลดความสามารถในการมีบุตรได้ถึง 50% การตั้งครรภ์ในผู้หญิงที่มี BMI สูงกว่า 30 มักจะเกี่ยวข้องกับปัญหาต่างๆ เช่น เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูง ทารกตัวใหญ่ และความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นในการผ่าคลอด

เพิ่มส่วนสูงและน้ำหนักของคุณเพื่อคำนวณดัชนีมวลกายของคุณ